สำหรับผู้ที่ยังไม่บรรลุอรหันตผล หากถือบวชอยู่ ก็จะถือพรหมจรรย์ด้วยจึงยังคงทำกิจ "รักษาพรหมจรรย์" ต่อไป นี่จึงยังไม่ "จบพรหมจรรย์" ทำให้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งธรรม ยังไม่บรรลุธรรม เพราะความยึดมั่นถือมั่นในพรหมจรรย์นั้น กลายเป็นตัวขัดขวางการบรรลุธรรมไปเสีย เพื่อช่วยให้ผู้ปฏิบัติธรรม ไปถึงที่สุดแห่งธรรมได้ จึงมีำคำกล่าวไว้ว่า "จบกิจ จบพรหมจรรย์" ซึ่งเป็นลักษณะของพระอรหันต์ เพื่อให้ทราบว่่าท่านไม่ยึดมั่นถือมั่น แม้แต่เรื่องพรหมจรรย์ ว่าจะต้องมีหรือไม่ จะต้องรักษาไว้หรือไม่ ด้วยเพราะเป็นอนิจจัง
จบพรหมจรรย์
จบพรหมจรรย์ เป็นคำที่ปรากฏในพระไตรปิฎกแต่ไม่ได้อยู่ในส่วนของอภิธรรม ซึ่งหมายถึงลักษณะอย่างหนึ่งของพระอรหันต์ คำว่า "จบพรหมจรรย์" หมายถึง การปล่อยวางเรื่องการรักษาพรหมจรรย์ได้แล้้ว แม้จะถูกทำลายพรหมจรรย์ ก็ไม่มีผลต่อธรรม เพราะเป็นอนิจจัง, เป็นอนัตตา อยู่ในตัวแล้ว แม้ว่าจะบวชพระ ถือศีลพรหม ถือพรหมจรรย์ แต่สิ่งเหล่านั้นก็ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตนของตนที่จะยึดมั่นถือมั่นได้ ดังนั้น การมีหรือไม่มีพรหมจรรย์ จึงไม่ใช่สาระของธรรม แต่ไม่ได้หมายความว่าให้เลิกรักษาพรหมจรรย์แล้วไปมีกามเสีย ก็หาไม่ หมายความว่า หากมีวิบากกรรมถูกข่มขืนก็ปล่อยไปตามวิบากกรรมนั้น ไม่จำเป็นต้องรักษาหรือหวงแหนพรหมจรรย์ไว้ ความมีหรือไม่มีพรหมจรรย์นั้น ไม่มีผลต่อธรรมะทั้งสิ้น เหมือนดั่งเช่น พระอุบลวรรณาเถรีที่ถูกข่มขืนนั้น ก็เป็นเพียงแค่วิบากกรรมเท่านั้น ไม่มีผลต่อธรรมของท่านเลยแม้แต่น้อย
สำหรับผู้ที่ยังไม่บรรลุอรหันตผล หากถือบวชอยู่ ก็จะถือพรหมจรรย์ด้วยจึงยังคงทำกิจ "รักษาพรหมจรรย์" ต่อไป นี่จึงยังไม่ "จบพรหมจรรย์" ทำให้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งธรรม ยังไม่บรรลุธรรม เพราะความยึดมั่นถือมั่นในพรหมจรรย์นั้น กลายเป็นตัวขัดขวางการบรรลุธรรมไปเสีย เพื่อช่วยให้ผู้ปฏิบัติธรรม ไปถึงที่สุดแห่งธรรมได้ จึงมีำคำกล่าวไว้ว่า "จบกิจ จบพรหมจรรย์" ซึ่งเป็นลักษณะของพระอรหันต์ เพื่อให้ทราบว่่าท่านไม่ยึดมั่นถือมั่น แม้แต่เรื่องพรหมจรรย์ ว่าจะต้องมีหรือไม่ จะต้องรักษาไว้หรือไม่ ด้วยเพราะเป็นอนิจจัง
สำหรับผู้ที่ยังไม่บรรลุอรหันตผล หากถือบวชอยู่ ก็จะถือพรหมจรรย์ด้วยจึงยังคงทำกิจ "รักษาพรหมจรรย์" ต่อไป นี่จึงยังไม่ "จบพรหมจรรย์" ทำให้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งธรรม ยังไม่บรรลุธรรม เพราะความยึดมั่นถือมั่นในพรหมจรรย์นั้น กลายเป็นตัวขัดขวางการบรรลุธรรมไปเสีย เพื่อช่วยให้ผู้ปฏิบัติธรรม ไปถึงที่สุดแห่งธรรมได้ จึงมีำคำกล่าวไว้ว่า "จบกิจ จบพรหมจรรย์" ซึ่งเป็นลักษณะของพระอรหันต์ เพื่อให้ทราบว่่าท่านไม่ยึดมั่นถือมั่น แม้แต่เรื่องพรหมจรรย์ ว่าจะต้องมีหรือไม่ จะต้องรักษาไว้หรือไม่ ด้วยเพราะเป็นอนิจจัง
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น