ทว่า เมื่อ "กามฉันทะ" อันเป็นสังโยชน์เครื่องร้อยรัด มีอำนาจ มีอิทธิพล ต่อบุคคลใดๆ แล้ว มันจะทำให้บุคคลนั้นๆ ไม่อยากบรรลุธรรม, ไม่อยากเข้าถึงธรรม ด้วยมันพัวพันรัดรึง ผูกจิตใจว่า ถ้าเข้าสู่ธรรมแล้ว จะต้องสูญเสีย, สละ, ตัดขาด หรือปฏิเสธ สิ่งต่างๆ ที่ตนมีกามฉันทะด้วยนั้น เช่น ถ้าบรรลุธรรมแล้ว ต้องสละลูกเมียที่รักไปบวช, สละหน้าที่การงาน, เงินทองลาภสักการะ, ชื่อเสียงเกียรติยศ ฯลฯ ไปบวชหรือไม่ ซึ่งแท้จริงแล้ว ไม่มีความจำเป็นเลย แต่ด้วยอำนาจของกามฉันทะนี่แหละ ที่จะผูกมัด ร้อยรัด ให้บุคคลไม่อยากเข้าถึงธรรม ไม่อยากบรรลุธรรม ด้วยจิตคิดอยู่ว่าสิ่งต่างๆ เหล่านั้น เคยเป็นที่รักของตน ที่ตนไม่อยากเสียมันไป นั่นเอง ในบางท่านสุดโต่งไปทางปฏิเสธ และมองสิ่งต่างๆ ที่เคยรัก, เคยชอบ, เคยนิยม ว่าเป็นลบ, เป็นสิ่งไม่ดี, เป็นสิ่งขัดขวางธรรม ทั้งๆ ที่สิ่งเหล่านั้นล้วนไม่ใช่สาเหตุ แต่จิตที่ไม่แจ้งในธรรมของบุคคลนั้นต่างหาก ที่เป็นเหตุ ขัดขวางให้บุคคลไม่หลุดพ้นจาก "กามฉันทะ" อันเป็นเครื่องร้อยรัดนั้น
กามฉันทะ
กามฉันทะ คือ หนึ่งในสังโยชน์ เครื่องร้อยรัด อันเกี่ยวเนื่องด้วย "ความพึงพอใจ" นิยมยินดี, รักใคร่ ฯลฯ ซึ่งบุคคลมีต่อสิ่งใดๆ ก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นคนรัก, สิ่งของ หรือสถานที่ เมื่อกามฉันทะอันเป็นเครื่องร้อยรัด พัวพันเข้ากับบุคคลใดแล้ว เขาย่อมรู้สึกเหมือนกับว่าถ้าเข้าสู่ธรรมแล้วจะต้องตัดขาด, ละทิ้ง, หรือสละซึ่งสิ่งเหล่านั้นไป แท้จริงแล้วไม่ใช่อย่างนั้น สิ่งเหล่านั้นทั้งหลาย ล้วนไม่เที่ยงอยู่ในสัจธรรมความจริง ซึ่งสัจธรรมนี้มีอยู่ในทุกสิ่งอยู่แล้ว แน่นอนว่าทุกสิ่งแม้ว่าเราจะชอบ, นิยมยินดี เพียงใด แต่สิ่งเหล่านั้นก็ล้วนไม่เที่ยง มีอันต้องพัดพราก, หมดสิ้น, ดับสลาย, จากกันไปในวันหนึ่ง ไม่อาจยึดมั่นเป็นสรณะอันเที่ยง, เป็นตัวเราของเราได้ ซึ่งผู้มีปัญญารู้แจ้งในธรรมเช่นนี้แล้ว ย่อมไม่ได้กระทำการณ์อื่นใด อันเป็นไปเื่พื่อความเอนเอียง ในฝ่ายยึดครองหรือต้องละทิ้ง เพราะทุกสิ่งถ้าจะอยู่ จะมี เป็นเหตุใกล้เรา มันก็จะอยู่ จะมี ต่อไปเป็นเหตุใกล้เรา และถ้าสิ่งใด จะไม่อยู่ ไม่มี เป็นเหตุใกล้เรา ถึงวาระ ย่อมไม่อยู่ ไม่มีเป็นเหตุใกล้เราเอง คือ ถ้ามันจะอยู่ ก็อยู่ ถ้ามันจะไป ก็ไป ไม่ใช่ให้ไปสละมันทิ้ง เอามันออกไป หรือทำลายให้มันหมดสิ้นไปก็หาไม่ ถึงวาระอนิจจัง มันก็ดับ หมด จบ ลงไปเองตามความไม่เที่ยงนั้น โดยที่เราไม่ต้องไปทำการตัด, สละ, ละทิ้ง, ปฏิเสธ ฯลฯ สิ่งต่างๆ เลย เพียงมีปัญญาแจ้งเห็นความไม่เที่ยง ก็พอ
ทว่า เมื่อ "กามฉันทะ" อันเป็นสังโยชน์เครื่องร้อยรัด มีอำนาจ มีอิทธิพล ต่อบุคคลใดๆ แล้ว มันจะทำให้บุคคลนั้นๆ ไม่อยากบรรลุธรรม, ไม่อยากเข้าถึงธรรม ด้วยมันพัวพันรัดรึง ผูกจิตใจว่า ถ้าเข้าสู่ธรรมแล้ว จะต้องสูญเสีย, สละ, ตัดขาด หรือปฏิเสธ สิ่งต่างๆ ที่ตนมีกามฉันทะด้วยนั้น เช่น ถ้าบรรลุธรรมแล้ว ต้องสละลูกเมียที่รักไปบวช, สละหน้าที่การงาน, เงินทองลาภสักการะ, ชื่อเสียงเกียรติยศ ฯลฯ ไปบวชหรือไม่ ซึ่งแท้จริงแล้ว ไม่มีความจำเป็นเลย แต่ด้วยอำนาจของกามฉันทะนี่แหละ ที่จะผูกมัด ร้อยรัด ให้บุคคลไม่อยากเข้าถึงธรรม ไม่อยากบรรลุธรรม ด้วยจิตคิดอยู่ว่าสิ่งต่างๆ เหล่านั้น เคยเป็นที่รักของตน ที่ตนไม่อยากเสียมันไป นั่นเอง ในบางท่านสุดโต่งไปทางปฏิเสธ และมองสิ่งต่างๆ ที่เคยรัก, เคยชอบ, เคยนิยม ว่าเป็นลบ, เป็นสิ่งไม่ดี, เป็นสิ่งขัดขวางธรรม ทั้งๆ ที่สิ่งเหล่านั้นล้วนไม่ใช่สาเหตุ แต่จิตที่ไม่แจ้งในธรรมของบุคคลนั้นต่างหาก ที่เป็นเหตุ ขัดขวางให้บุคคลไม่หลุดพ้นจาก "กามฉันทะ" อันเป็นเครื่องร้อยรัดนั้น
ทว่า เมื่อ "กามฉันทะ" อันเป็นสังโยชน์เครื่องร้อยรัด มีอำนาจ มีอิทธิพล ต่อบุคคลใดๆ แล้ว มันจะทำให้บุคคลนั้นๆ ไม่อยากบรรลุธรรม, ไม่อยากเข้าถึงธรรม ด้วยมันพัวพันรัดรึง ผูกจิตใจว่า ถ้าเข้าสู่ธรรมแล้ว จะต้องสูญเสีย, สละ, ตัดขาด หรือปฏิเสธ สิ่งต่างๆ ที่ตนมีกามฉันทะด้วยนั้น เช่น ถ้าบรรลุธรรมแล้ว ต้องสละลูกเมียที่รักไปบวช, สละหน้าที่การงาน, เงินทองลาภสักการะ, ชื่อเสียงเกียรติยศ ฯลฯ ไปบวชหรือไม่ ซึ่งแท้จริงแล้ว ไม่มีความจำเป็นเลย แต่ด้วยอำนาจของกามฉันทะนี่แหละ ที่จะผูกมัด ร้อยรัด ให้บุคคลไม่อยากเข้าถึงธรรม ไม่อยากบรรลุธรรม ด้วยจิตคิดอยู่ว่าสิ่งต่างๆ เหล่านั้น เคยเป็นที่รักของตน ที่ตนไม่อยากเสียมันไป นั่นเอง ในบางท่านสุดโต่งไปทางปฏิเสธ และมองสิ่งต่างๆ ที่เคยรัก, เคยชอบ, เคยนิยม ว่าเป็นลบ, เป็นสิ่งไม่ดี, เป็นสิ่งขัดขวางธรรม ทั้งๆ ที่สิ่งเหล่านั้นล้วนไม่ใช่สาเหตุ แต่จิตที่ไม่แจ้งในธรรมของบุคคลนั้นต่างหาก ที่เป็นเหตุ ขัดขวางให้บุคคลไม่หลุดพ้นจาก "กามฉันทะ" อันเป็นเครื่องร้อยรัดนั้น
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น