อุทธัจจะ, มานะ, รูปราคะ, อรูปราคะ, อวิชชา ยังไม่หมดไปในพระอนาคามี แม้ว่าพระอนาคามีจะพยายามควบคุมไว้ด้วยจิตที่สงบสงัดก็ตาม ทำให้เกิดภาวะ "ซ่อนตัว" ภายในได้ คือ สังโยชน์ทั้งห้านี้ยังคงอยู่ แม้จะเหลือเพียงตะกอนเล็กๆ แต่ก็ยังทำหน้าที่ขัดขวางการบรรลุธรรมได้ แต่เนื่องจากพระอนาคามีมีความพยายามทำจิตให้สงบหลุดพ้นจากสังโยชน์ทั้งห้าประการนี้ จึงทำให้ท่านทำให้สังโยชน์ทั้งห้าประการถูกกดซ่อนไว้เบื้องลึกได้ แต่ท่านก็ยังไม่หลุดพ้นจากสังโยชน์ทั้งห้าประการนี้อยู่ดี ตราบเมื่อบรรลุธรรมขั้นสูงขึ้นไปอีกขั้นคือ พระอรหันต์จึงจะสามารถหลุดพ้นจากสังโยชน์ทั้งห้านี้ได้ อนึ่ง สังโยชน์ห้าประการนี้ เป็น "สังโยชน์ละเอียด" พิจารณาเห็นได้ยาก อุปมาเหมือนฝุ่นผงขนาดเล็กบนผ้าขาวจนมองแทบไม่เห็นจำต้องมี "ผ้าขาวกว่า" มาเปรียบเทียบ" จึงจะเห็นความแตกต่่าง ไม่อาจเห็นได้ด้วยง่ายๆ ด้วยตนเอง ซึ่งก็คือ การได้รับการโปรดด้วยผู้ที่มีธรรมสูงกว่า จนทำให้เห็นชัดว่าตนยังไม่ได้บรรลุธรรมขั้นสูงสุด คือ ขั้นอรหันตผลจริงๆ เช่น เมื่อมีผู้โปรดธรรม สังโยชน์ทั้งห้าก็กำเริบขัดขวางการบรรลุธรรม จึงจะทราบว่าตนนั้น ยังไม่ได้หลุดพ้นจากสังโยชน์ทั้งห้านี้จริงๆ หากไม่มีผู้ที่มีธรรมสูงกว่ามาโปรด สังโยชน์ก็ไม่แสดงตัว
อนาคามี
อนาคามี คือ พระอริยบุคคลขั้นที่สามในสี่ขั้น ถัดจากพระสกิทาคามี ซึ่งนอกจากจะหลุดพ้นจากสังโยชน์สามตัวแรก คือ สักกายทิฏฐิ, วิจิกิจฉา และศีลัพพตปรามาส ได้แล้ว ยังสามารถหลุดพ้นจาก "ปฏิฆะ และ กามฉันทะ" ได้อีกด้วย อนึ่ง พระอนาคามีมักมีลักษณะเหมือนพระอรหันต์ในความคิดหรือมุมมองของชาวโลก คือ ดูสงบเงียบ, น่าศรัทธาเลื่อมใส แต่ไม่ค่อยเป็นธรรมชาติเท่าไร คือ ดูดีหรือมีตัวตน (อัตตา) เหมือนเป็นพระอรหันต์มากเกินไป นั่นเอง (ในขณะที่พระอรหันต์จริงๆ จะดูไม่ค่อยเหมือนพระอรหันต์แต่จะดูเหมือนคนธรรมดา มีความเป็นธรรมชาติมากกว่่า) แต่เนื่องจากการฝึกฝนตนเองยังไม่บรรลุผล ทำให้ยังมี ตัวตน หรือ อัตตา มีรูปแบบ มีความเป็นพระอรหันต์ (ที่ไม่ใช่พระอรหันต์จริงๆ) อยู่ พระอนาคามี จึงทำให้คนศรัทธาหลงคิดว่่าเป็นพระอรหันต์ได้มากกว่าพระอรหันต์จริงๆ เสียอีก และทำให้ธรรมของท่านไม่ก้าวไปข้างหน้าได้ หากท่านหลงยึดติดตัวตนหรือหลงตนว่าได้อรหันต์แล้ว จึงมักพบว่า พระอนาคามีบางท่านที่ยังไม่บรรลุอรหันตผล มักถูกแวดล้อมด้วยผู้คนที่หลงคิดว่่าท่านบรรลุอรหันตผลแล้ว นั่นเอง
อุทธัจจะ, มานะ, รูปราคะ, อรูปราคะ, อวิชชา ยังไม่หมดไปในพระอนาคามี แม้ว่าพระอนาคามีจะพยายามควบคุมไว้ด้วยจิตที่สงบสงัดก็ตาม ทำให้เกิดภาวะ "ซ่อนตัว" ภายในได้ คือ สังโยชน์ทั้งห้านี้ยังคงอยู่ แม้จะเหลือเพียงตะกอนเล็กๆ แต่ก็ยังทำหน้าที่ขัดขวางการบรรลุธรรมได้ แต่เนื่องจากพระอนาคามีมีความพยายามทำจิตให้สงบหลุดพ้นจากสังโยชน์ทั้งห้าประการนี้ จึงทำให้ท่านทำให้สังโยชน์ทั้งห้าประการถูกกดซ่อนไว้เบื้องลึกได้ แต่ท่านก็ยังไม่หลุดพ้นจากสังโยชน์ทั้งห้าประการนี้อยู่ดี ตราบเมื่อบรรลุธรรมขั้นสูงขึ้นไปอีกขั้นคือ พระอรหันต์จึงจะสามารถหลุดพ้นจากสังโยชน์ทั้งห้านี้ได้ อนึ่ง สังโยชน์ห้าประการนี้ เป็น "สังโยชน์ละเอียด" พิจารณาเห็นได้ยาก อุปมาเหมือนฝุ่นผงขนาดเล็กบนผ้าขาวจนมองแทบไม่เห็นจำต้องมี "ผ้าขาวกว่า" มาเปรียบเทียบ" จึงจะเห็นความแตกต่่าง ไม่อาจเห็นได้ด้วยง่ายๆ ด้วยตนเอง ซึ่งก็คือ การได้รับการโปรดด้วยผู้ที่มีธรรมสูงกว่า จนทำให้เห็นชัดว่าตนยังไม่ได้บรรลุธรรมขั้นสูงสุด คือ ขั้นอรหันตผลจริงๆ เช่น เมื่อมีผู้โปรดธรรม สังโยชน์ทั้งห้าก็กำเริบขัดขวางการบรรลุธรรม จึงจะทราบว่าตนนั้น ยังไม่ได้หลุดพ้นจากสังโยชน์ทั้งห้านี้จริงๆ หากไม่มีผู้ที่มีธรรมสูงกว่ามาโปรด สังโยชน์ก็ไม่แสดงตัว
อุทธัจจะ, มานะ, รูปราคะ, อรูปราคะ, อวิชชา ยังไม่หมดไปในพระอนาคามี แม้ว่าพระอนาคามีจะพยายามควบคุมไว้ด้วยจิตที่สงบสงัดก็ตาม ทำให้เกิดภาวะ "ซ่อนตัว" ภายในได้ คือ สังโยชน์ทั้งห้านี้ยังคงอยู่ แม้จะเหลือเพียงตะกอนเล็กๆ แต่ก็ยังทำหน้าที่ขัดขวางการบรรลุธรรมได้ แต่เนื่องจากพระอนาคามีมีความพยายามทำจิตให้สงบหลุดพ้นจากสังโยชน์ทั้งห้าประการนี้ จึงทำให้ท่านทำให้สังโยชน์ทั้งห้าประการถูกกดซ่อนไว้เบื้องลึกได้ แต่ท่านก็ยังไม่หลุดพ้นจากสังโยชน์ทั้งห้าประการนี้อยู่ดี ตราบเมื่อบรรลุธรรมขั้นสูงขึ้นไปอีกขั้นคือ พระอรหันต์จึงจะสามารถหลุดพ้นจากสังโยชน์ทั้งห้านี้ได้ อนึ่ง สังโยชน์ห้าประการนี้ เป็น "สังโยชน์ละเอียด" พิจารณาเห็นได้ยาก อุปมาเหมือนฝุ่นผงขนาดเล็กบนผ้าขาวจนมองแทบไม่เห็นจำต้องมี "ผ้าขาวกว่า" มาเปรียบเทียบ" จึงจะเห็นความแตกต่่าง ไม่อาจเห็นได้ด้วยง่ายๆ ด้วยตนเอง ซึ่งก็คือ การได้รับการโปรดด้วยผู้ที่มีธรรมสูงกว่า จนทำให้เห็นชัดว่าตนยังไม่ได้บรรลุธรรมขั้นสูงสุด คือ ขั้นอรหันตผลจริงๆ เช่น เมื่อมีผู้โปรดธรรม สังโยชน์ทั้งห้าก็กำเริบขัดขวางการบรรลุธรรม จึงจะทราบว่าตนนั้น ยังไม่ได้หลุดพ้นจากสังโยชน์ทั้งห้านี้จริงๆ หากไม่มีผู้ที่มีธรรมสูงกว่ามาโปรด สังโยชน์ก็ไม่แสดงตัว
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น