ในนักปฏิบัติบางกลุ่ม ย่อมพิจารณา "กายในกาย" อันเป็นหนึ่งในสี่หลักของสติปัฏฐานสี่ (กาย, เวทนา, จิต, ธรรม) จากกายสังขารหรือสัมโภคกายนี้ ไปสู่กายภายในซึ่งซ้อนอยู่ในกายสังขาร เป็นชั้นๆ ไป ในท่านที่สำเร็จตาทิพย์จึงเห็นกายในกาย ซึ่งเป็นกายทิพย์แบบต่างๆ ได้ ส่วนในท่านที่ไม่สำเร็จตาทิพย์ ก็สามารถเข้าใจถึง "กายในกาย" ได้ด้วยปัญญา หรือสติอันละเอียด ย่อมสัมผัสถึงความมีอยู่ของกายในกาย ที่ซ้อนอยู่ในกายสังขารนี้ได้ เช่นกัน เรียกว่า "สติในฐานกาย" ไม่เกี่ยวว่าจะต้องมีัตาทิพย์ จะต้องเห็นกายทิพย์นั้นหรือไม่? แต่ด้วยกำลังของสติที่ละเอียดอ่อน ก็สามารถรับรู้ได้ถึงการมีอยู่ของกายนั้นๆ ได้เช่นกัน เรียกว่า "กายานุสติปัฏฐาน" นั่นเอง อนึ่ง "ธรรมกาย" ของแต่ละท่าน มีลักษณะไม่เหมือนกัน ในพระพุทธเจ้าที่มีบารมีมาก "ธรรมกายของท่าน" จะมีลักษณะเป็นพุทธะมีมหาบุรุษลักษณะครบทุกประการ ในพระพุทธเจ้าที่มีบารมีน้อย (ปัญญาธิกะ บารมี ๔ อสงไขย) "ธรรมกายของท่าน" จะมีลักษณะไร้รูป ไม่มีรูปแห่งพุทธะเลย เป็นเพียง "มโนธาตุ" สว่างไสวดุจดวงดาวประกายแสงอยู่เท่านั้น จนบางท่านเรียกว่า "แสงแห่งธรรม" หรือ "พระเจ้าแสงแห่งธรรม" ก็มี (บางท่านเรียกเช่นนั้น แต่มิใช่ศัพท์ที่ใช้เป็นทางการ) ในพระอรหันตสาวกทั่วไป "ธรรมกาย" จะมีลักษณะคล้ายพระภิกษุแต่มีรัศมีแห่งธรรม (ฉัพรรณรังสี) เต็มรอบ สว่างขาว ครบวง และลักษณะอื่นๆ อีก ในบางท่าน "ธรรมกาย" มีลักษณะใสดุจเพชร นอกจากใสแล้วยังเปล่งประกายเป็นสีรุ้งเหมือนประกายเพชรอีกด้วย ธรรมกายลักษณะนี้มีชื่อเรียกเฉพาะอีกอย่างว่า "วัชรกาย" นั่นเอง จึงกล่าวได้ว่า "ธรรมกาย" หากเพ่งดูด้วยตาทิพย์แล้ว ก็มีลักษณะแตกต่างกันไปอีกด้วย แ่ต่ทั้งหลายทั้งปวงนี้ ก็ยังไม่ใช่ "นิพพาน" ไม่ว่าจะดับขันธปรินิพพาน คือ ดับขันธ์ทั้งห้าโดยรอบหมดแล้ว แต่ยังเหลือ "มโนธาตุ" สว่างไสวอยู่เป็นธรรมกาย สิ่งนั้นก็ไม่ใช่นิพพาน เป็นเพียง "อายตนะนิพพาน" ที่รับรู้นิพพาน เป็นตัวรู้นิพพานอีกที ยังไ่ม่ใช่ "นิพพานที่ถูกรู้" แต่อย่างใด จนเมื่อถึงซึ่ง "มโนธาตุนิพพาน" แล้ว ย่อมไม่เหลือรูปนามแ่ห่งนิพพาน (ธรรมกาย-อายตนะนิพพาน-ตัวผู้รู้นิพพาน และ นิพพาน ซึ่งเป็นฝ่ายถูกรู้) นับเป็น "นิพพาน" ๑ เดียว ไม่มีอย่างอื่น จบ ...
ธรรมกาย
ธรรมกาย คือ กายแห่งธรรม อันเป็น "กายในกาย" ที่พบในพระอรหันต์ทั้งหลาย และเป็นหนึ่งในสามกายของพระพุทธเจ้า ซึ่งได้แก่ ๑. ธรรมกาย (กายแห่งธรรม) ๒. นิรมาณกาย (กายเปลือกนอกที่ปรับเปลี่ยนไปตามความเหมาะสม) ๓. สัมโภคกาย (กายสังขารที่ได้ดำรงชีพ ดื่มกิน) โดยทั้ง ๓ กายนี้ ประสานอยู่่ร่วมกัน เพื่อการโปรดสัตว์อย่างเหมาะสม หากขาดซึ่งกายใดกายหนึ่งแล้ว การโปรดสัตว์ก็อาจมีปัญหาได้ เช่น หากขาดซึ่ง "สัมโภคกาย" ก็ไม่มีกายที่ดำรงชีพอยู่เหมือนมนุษย์ๆ ทั้งหลายย่อมไม่อาจเข้าถึงหรือเข้าใจในภาวะของพระพุทธเจ้าได้ นอกจากท่านที่ปฏิบัติธรรมขั้นสูงจริงๆ จึงจะเข้าถึง "ธรรมกาย" ของพระพุทธเจ้าได้ อนึ่ง ในกายทั้งสามนี้ "ธรรมย่อมดำรงอยู่เฉพาะในธรรมกาย" เท่านั้น กายอื่นๆ ไม่อาจเป็นที่หยัดยืนแห่งธรรมได้ ดังนั้น เมื่อบุคคลได้พบพระพุทธเจ้าแล้ว ยึดติดในสังขารเปลือกนอกของท่านก็ไม่อาจเข้าถึงพระธรรมกายของท่าน ย่อมไม่อาจที่จะบรรลุธรรมได้ บางท่านได้กล่าวเสริมอีกว่า "ธรรมกาย คือ อายตนะนิพพาน" ด้วย หรือก็คือ พระพุทธเจ้าใช้ "พระธรรมกาย" ในการรับรู้และเข้าถึงซึ่งพระนิพพาน เมื่อธรรมกายรับรู้นิพพานได้ จึงนับว่าเป็น "อายตนะนิพพาน" แต่ไม่ใช่ตัวนิพพานโดยตรง เป็นเพียงกายที่เชื่อมโยงเพื่อรับรู้ถึงนิพพานเท่านั้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า "หากบุคคลไร้ซึ่งธรรมกายแล้ว มีแต่กายอื่นๆ ไม่อาจใช้กายอื่นๆ เหล่านั้น รับรู้หรือเข้าถึงนิพพานได้" หากต้องการรับรู้หรือเข้าถึงนิพพาน (บรรลุธรรม) ย่อมต้องมี "ธรรมกาย" ก่อน เหมือนดอกบัวที่รอรับธรรม ย่อมต้องพร้อมบานแล้วก่อนฉะนั้น จึงรับแสงธรรมได้เต็มที่ หากยังไม่บาน แสงส่องอย่างไร ก็ไม่ถึงซึ่งภายในดอกบัวได้ ดังนั้น "ธรรมกาย" จึุงอุปมาดั่ง "ดอกบัวบาน" ที่รอรับแสง (พระธรรม) ฉะนั้น หากไม่ไ่ด้รับแสงก็ไม่บรรลุธรรม เมื่อได้รับแสงธรรมแล้ว จึงบรรลุธรรมได้ ดังนั้น การบรรลุ "ธรรมกาย" จึงเป็นการเตรียมอินทรีย์รับธรรม
ในนักปฏิบัติบางกลุ่ม ย่อมพิจารณา "กายในกาย" อันเป็นหนึ่งในสี่หลักของสติปัฏฐานสี่ (กาย, เวทนา, จิต, ธรรม) จากกายสังขารหรือสัมโภคกายนี้ ไปสู่กายภายในซึ่งซ้อนอยู่ในกายสังขาร เป็นชั้นๆ ไป ในท่านที่สำเร็จตาทิพย์จึงเห็นกายในกาย ซึ่งเป็นกายทิพย์แบบต่างๆ ได้ ส่วนในท่านที่ไม่สำเร็จตาทิพย์ ก็สามารถเข้าใจถึง "กายในกาย" ได้ด้วยปัญญา หรือสติอันละเอียด ย่อมสัมผัสถึงความมีอยู่ของกายในกาย ที่ซ้อนอยู่ในกายสังขารนี้ได้ เช่นกัน เรียกว่า "สติในฐานกาย" ไม่เกี่ยวว่าจะต้องมีัตาทิพย์ จะต้องเห็นกายทิพย์นั้นหรือไม่? แต่ด้วยกำลังของสติที่ละเอียดอ่อน ก็สามารถรับรู้ได้ถึงการมีอยู่ของกายนั้นๆ ได้เช่นกัน เรียกว่า "กายานุสติปัฏฐาน" นั่นเอง อนึ่ง "ธรรมกาย" ของแต่ละท่าน มีลักษณะไม่เหมือนกัน ในพระพุทธเจ้าที่มีบารมีมาก "ธรรมกายของท่าน" จะมีลักษณะเป็นพุทธะมีมหาบุรุษลักษณะครบทุกประการ ในพระพุทธเจ้าที่มีบารมีน้อย (ปัญญาธิกะ บารมี ๔ อสงไขย) "ธรรมกายของท่าน" จะมีลักษณะไร้รูป ไม่มีรูปแห่งพุทธะเลย เป็นเพียง "มโนธาตุ" สว่างไสวดุจดวงดาวประกายแสงอยู่เท่านั้น จนบางท่านเรียกว่า "แสงแห่งธรรม" หรือ "พระเจ้าแสงแห่งธรรม" ก็มี (บางท่านเรียกเช่นนั้น แต่มิใช่ศัพท์ที่ใช้เป็นทางการ) ในพระอรหันตสาวกทั่วไป "ธรรมกาย" จะมีลักษณะคล้ายพระภิกษุแต่มีรัศมีแห่งธรรม (ฉัพรรณรังสี) เต็มรอบ สว่างขาว ครบวง และลักษณะอื่นๆ อีก ในบางท่าน "ธรรมกาย" มีลักษณะใสดุจเพชร นอกจากใสแล้วยังเปล่งประกายเป็นสีรุ้งเหมือนประกายเพชรอีกด้วย ธรรมกายลักษณะนี้มีชื่อเรียกเฉพาะอีกอย่างว่า "วัชรกาย" นั่นเอง จึงกล่าวได้ว่า "ธรรมกาย" หากเพ่งดูด้วยตาทิพย์แล้ว ก็มีลักษณะแตกต่างกันไปอีกด้วย แ่ต่ทั้งหลายทั้งปวงนี้ ก็ยังไม่ใช่ "นิพพาน" ไม่ว่าจะดับขันธปรินิพพาน คือ ดับขันธ์ทั้งห้าโดยรอบหมดแล้ว แต่ยังเหลือ "มโนธาตุ" สว่างไสวอยู่เป็นธรรมกาย สิ่งนั้นก็ไม่ใช่นิพพาน เป็นเพียง "อายตนะนิพพาน" ที่รับรู้นิพพาน เป็นตัวรู้นิพพานอีกที ยังไ่ม่ใช่ "นิพพานที่ถูกรู้" แต่อย่างใด จนเมื่อถึงซึ่ง "มโนธาตุนิพพาน" แล้ว ย่อมไม่เหลือรูปนามแ่ห่งนิพพาน (ธรรมกาย-อายตนะนิพพาน-ตัวผู้รู้นิพพาน และ นิพพาน ซึ่งเป็นฝ่ายถูกรู้) นับเป็น "นิพพาน" ๑ เดียว ไม่มีอย่างอื่น จบ ...
ในนักปฏิบัติบางกลุ่ม ย่อมพิจารณา "กายในกาย" อันเป็นหนึ่งในสี่หลักของสติปัฏฐานสี่ (กาย, เวทนา, จิต, ธรรม) จากกายสังขารหรือสัมโภคกายนี้ ไปสู่กายภายในซึ่งซ้อนอยู่ในกายสังขาร เป็นชั้นๆ ไป ในท่านที่สำเร็จตาทิพย์จึงเห็นกายในกาย ซึ่งเป็นกายทิพย์แบบต่างๆ ได้ ส่วนในท่านที่ไม่สำเร็จตาทิพย์ ก็สามารถเข้าใจถึง "กายในกาย" ได้ด้วยปัญญา หรือสติอันละเอียด ย่อมสัมผัสถึงความมีอยู่ของกายในกาย ที่ซ้อนอยู่ในกายสังขารนี้ได้ เช่นกัน เรียกว่า "สติในฐานกาย" ไม่เกี่ยวว่าจะต้องมีัตาทิพย์ จะต้องเห็นกายทิพย์นั้นหรือไม่? แต่ด้วยกำลังของสติที่ละเอียดอ่อน ก็สามารถรับรู้ได้ถึงการมีอยู่ของกายนั้นๆ ได้เช่นกัน เรียกว่า "กายานุสติปัฏฐาน" นั่นเอง อนึ่ง "ธรรมกาย" ของแต่ละท่าน มีลักษณะไม่เหมือนกัน ในพระพุทธเจ้าที่มีบารมีมาก "ธรรมกายของท่าน" จะมีลักษณะเป็นพุทธะมีมหาบุรุษลักษณะครบทุกประการ ในพระพุทธเจ้าที่มีบารมีน้อย (ปัญญาธิกะ บารมี ๔ อสงไขย) "ธรรมกายของท่าน" จะมีลักษณะไร้รูป ไม่มีรูปแห่งพุทธะเลย เป็นเพียง "มโนธาตุ" สว่างไสวดุจดวงดาวประกายแสงอยู่เท่านั้น จนบางท่านเรียกว่า "แสงแห่งธรรม" หรือ "พระเจ้าแสงแห่งธรรม" ก็มี (บางท่านเรียกเช่นนั้น แต่มิใช่ศัพท์ที่ใช้เป็นทางการ) ในพระอรหันตสาวกทั่วไป "ธรรมกาย" จะมีลักษณะคล้ายพระภิกษุแต่มีรัศมีแห่งธรรม (ฉัพรรณรังสี) เต็มรอบ สว่างขาว ครบวง และลักษณะอื่นๆ อีก ในบางท่าน "ธรรมกาย" มีลักษณะใสดุจเพชร นอกจากใสแล้วยังเปล่งประกายเป็นสีรุ้งเหมือนประกายเพชรอีกด้วย ธรรมกายลักษณะนี้มีชื่อเรียกเฉพาะอีกอย่างว่า "วัชรกาย" นั่นเอง จึงกล่าวได้ว่า "ธรรมกาย" หากเพ่งดูด้วยตาทิพย์แล้ว ก็มีลักษณะแตกต่างกันไปอีกด้วย แ่ต่ทั้งหลายทั้งปวงนี้ ก็ยังไม่ใช่ "นิพพาน" ไม่ว่าจะดับขันธปรินิพพาน คือ ดับขันธ์ทั้งห้าโดยรอบหมดแล้ว แต่ยังเหลือ "มโนธาตุ" สว่างไสวอยู่เป็นธรรมกาย สิ่งนั้นก็ไม่ใช่นิพพาน เป็นเพียง "อายตนะนิพพาน" ที่รับรู้นิพพาน เป็นตัวรู้นิพพานอีกที ยังไ่ม่ใช่ "นิพพานที่ถูกรู้" แต่อย่างใด จนเมื่อถึงซึ่ง "มโนธาตุนิพพาน" แล้ว ย่อมไม่เหลือรูปนามแ่ห่งนิพพาน (ธรรมกาย-อายตนะนิพพาน-ตัวผู้รู้นิพพาน และ นิพพาน ซึ่งเป็นฝ่ายถูกรู้) นับเป็น "นิพพาน" ๑ เดียว ไม่มีอย่างอื่น จบ ...
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น