บุคคลที่สำเร็จธรรมกาย หรือสร้างสมบุญบารมีมาจนเต็มแก่แล้ว จะมี "ธรรมกาย" เป็นกายธรรมภายในที่จะสามารถหยั่งรู้และสัมผัสนิพพานได้ บางท่านไม่เห็นเป็นรูปใดๆ แต่สัมผัสเป็นความรู้สึุกที่ผ่องใส สงบ สงัด บริสุทธิ์ ประภัสสร และติดอยู่ในอารมณ์นี้ เรียกว่า "อารมณ์นิพพาน" ทำให้ค้างคาอยู่เพียง "อรหันตมรรค" คือ จิตดำเินินตามอริยมรรคตรงทางมาแล้ว พอพบนิพพานแล้วก็เสพอารมณ์นิพพาน แช่อยู่ ดองอยู่ในอารมณ์นี้ เหมือนบุคคลที่เคยชินกับการทำกรรมฐาน เมื่อรับรู้นิพพานแล้ว เอานิพพานเป็นอารมณ์กรรมฐานไปโดยไม่รู้ตัว ก็จะรู้สึกว่าสิ่งอื่นๆ ที่ไม่ใช่นิพพานนั้น เป็นสิ่งที่ไม่ดี เช่น กิเลสไม่บริสุทธิ์ดั่งเช่นนิพพาน, โลกวุ่นวานไม่สงบดั่งนิพพาน, วิบากกรรมนำมาซึ่งทุกข์ไม่สุขเหมือนนิพพาน ฯลฯ ให้ท่านมีสติขึ้นรู้ตัวว่า "มรรคของท่าน" กำลังเอนเอียง ไม่เป็นกลาง ไม่ใช่สัมมาสมาธิแล้ว เพราะท่านเอนเข้าไปทางนิพพานที่ถูกรับรู้ได้นั้น จึงไม่ใช่ทางนิพพานแท้ เป็นเพียง "รูปของนิพพาน" ที่ท่านยังติดข้องอยู่เท่านั้น
รูปนิพพาน
รูปนิพพาน เป็นคำที่ไม่มีในพระอภิธรรม แต่เขียนขึ้นเพื่ออธิบายภาวะบางอย่าง อันเกิดจากจิตหยั่งไปถึงนิพพานได้ แล้วทำให้จิตรับรู้นิพพานนั้นๆ ว่ามีลักษณะอย่างนั้นอย่างนี้ ซึ่งลักษณะอย่างนั้นอย่างนี้ต่างๆ นั้น ล้วนเป็น "รูปของนิพพาน" ยังมิใช่นิพพานจริงๆ เช่น บางท่านที่ได้ "ธรรมกาย" อาศัยธรรมกายนั้นจึงหยั่งถึงนิพพาน เป็นอายตนะรับรู้นิพพาน (อายตนะนิพพาน) แล้วรับรู้นิพพานว่ามีลักษณะต่างๆ เช่น เห็นเป็นดินแดน มีบ้านเมืองเป็นแก้ว สวยสดงดงามเป็นต้น สิ่งเหล่านี้ ล้วนเป็น "รูป" ของนิพพาน เหมือนภาพฉายของนิพพาน, ภาพสะท้อนของนิพพาน, เหมือนเงาจันทร์ในน้ำ ฯลฯ แต่ยังไม่ใช่นิพพานจริงๆ ซึ่งหากท่านได้ศึกษา "ปรมัตถธรรม" พระพุทธเจ้าจะทรงจำแนกธรรมหมวดนี้ไว้ ๔ ธรรมขันธ์ได้แก่ จิต, เจตสิก, รูป และนิพพาน โดยสิ่งใดที่ "ถูกรับรู้ได้" นับเป็น "รูป" ทั้งหมด สิ่งใดที่เป็นผู้รับรู้รูปต่างๆ นับเป็น "นาม" ทั้งหมด ซึ่งนามนั้นได้แก่ จิตและเจตสิก นั่นเอง นอกจากนี้ สิ่งที่นอกเหนือจากการ "รู้" และ "ถูกรับรู้" ก็คือ "นิพพาน" ในท่านที่ฝึกวิปัสสนาพิจารณา "รูปนาม" ท่านจะเห็นธรรมสองฝั่งฝ่าย คือ ฝ่ายผู้รู้เรียกว่า "นาม" ฝ่ายสิ่งที่ถูกรู้ เรียกว่า "รูป" ตราบใดที่ท่านยังเห็น "รูปนาม" อยู่ ท่านก็จะยังไม่เข้าถึงซึ่ง "นิพพาน" แท้จริง เพราะทั้งหมดนั้นยังเป็นรูปและนามมิใช่นิพพานอยู่นั่นเอง อุปมาดั่งบุคคลนั่งมองภาพในกระจกเงาฉะนั้น
บุคคลที่สำเร็จธรรมกาย หรือสร้างสมบุญบารมีมาจนเต็มแก่แล้ว จะมี "ธรรมกาย" เป็นกายธรรมภายในที่จะสามารถหยั่งรู้และสัมผัสนิพพานได้ บางท่านไม่เห็นเป็นรูปใดๆ แต่สัมผัสเป็นความรู้สึุกที่ผ่องใส สงบ สงัด บริสุทธิ์ ประภัสสร และติดอยู่ในอารมณ์นี้ เรียกว่า "อารมณ์นิพพาน" ทำให้ค้างคาอยู่เพียง "อรหันตมรรค" คือ จิตดำเินินตามอริยมรรคตรงทางมาแล้ว พอพบนิพพานแล้วก็เสพอารมณ์นิพพาน แช่อยู่ ดองอยู่ในอารมณ์นี้ เหมือนบุคคลที่เคยชินกับการทำกรรมฐาน เมื่อรับรู้นิพพานแล้ว เอานิพพานเป็นอารมณ์กรรมฐานไปโดยไม่รู้ตัว ก็จะรู้สึกว่าสิ่งอื่นๆ ที่ไม่ใช่นิพพานนั้น เป็นสิ่งที่ไม่ดี เช่น กิเลสไม่บริสุทธิ์ดั่งเช่นนิพพาน, โลกวุ่นวานไม่สงบดั่งนิพพาน, วิบากกรรมนำมาซึ่งทุกข์ไม่สุขเหมือนนิพพาน ฯลฯ ให้ท่านมีสติขึ้นรู้ตัวว่า "มรรคของท่าน" กำลังเอนเอียง ไม่เป็นกลาง ไม่ใช่สัมมาสมาธิแล้ว เพราะท่านเอนเข้าไปทางนิพพานที่ถูกรับรู้ได้นั้น จึงไม่ใช่ทางนิพพานแท้ เป็นเพียง "รูปของนิพพาน" ที่ท่านยังติดข้องอยู่เท่านั้น
บุคคลที่สำเร็จธรรมกาย หรือสร้างสมบุญบารมีมาจนเต็มแก่แล้ว จะมี "ธรรมกาย" เป็นกายธรรมภายในที่จะสามารถหยั่งรู้และสัมผัสนิพพานได้ บางท่านไม่เห็นเป็นรูปใดๆ แต่สัมผัสเป็นความรู้สึุกที่ผ่องใส สงบ สงัด บริสุทธิ์ ประภัสสร และติดอยู่ในอารมณ์นี้ เรียกว่า "อารมณ์นิพพาน" ทำให้ค้างคาอยู่เพียง "อรหันตมรรค" คือ จิตดำเินินตามอริยมรรคตรงทางมาแล้ว พอพบนิพพานแล้วก็เสพอารมณ์นิพพาน แช่อยู่ ดองอยู่ในอารมณ์นี้ เหมือนบุคคลที่เคยชินกับการทำกรรมฐาน เมื่อรับรู้นิพพานแล้ว เอานิพพานเป็นอารมณ์กรรมฐานไปโดยไม่รู้ตัว ก็จะรู้สึกว่าสิ่งอื่นๆ ที่ไม่ใช่นิพพานนั้น เป็นสิ่งที่ไม่ดี เช่น กิเลสไม่บริสุทธิ์ดั่งเช่นนิพพาน, โลกวุ่นวานไม่สงบดั่งนิพพาน, วิบากกรรมนำมาซึ่งทุกข์ไม่สุขเหมือนนิพพาน ฯลฯ ให้ท่านมีสติขึ้นรู้ตัวว่า "มรรคของท่าน" กำลังเอนเอียง ไม่เป็นกลาง ไม่ใช่สัมมาสมาธิแล้ว เพราะท่านเอนเข้าไปทางนิพพานที่ถูกรับรู้ได้นั้น จึงไม่ใช่ทางนิพพานแท้ เป็นเพียง "รูปของนิพพาน" ที่ท่านยังติดข้องอยู่เท่านั้น
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น